ตารางอุปกรณ์รับรู้ของดาวเทียมชุด Landsat

 ตารางอุปกรณ์รับรู้ของดาวเทียมชุด Landsat

อุปกรณ์รับรู้
แบนด์
ช่วงคลื่น
ความยาวคลื่น (ไมโครเมตร)
ความละเอียดภาพ (เมตร)
RBV
(Returned Beam Vidicon)
* เฉพาะ LANDSAT 3
1
น้ำเงินเขียว
0.475 – 0.575
80
2
แดง
0.580 – 0.680
80
3
อินฟราเรดใกล้
0.690 – 0.830
80
1*
0.505 – 0.705
40
MSS 
(Multispectral Scanner System)
LANDSAT 1, 2, 3
4
เขียว
0.50 – 0.60
80
5
แดง
0.60 – 0.70
80
6
อินฟราเรดใกล้
0.70 – 0.80
80
7
อินฟราเรดใกล้
0.80 – 1.10
80
8
อินฟราเรดความร้อน
10.8 – 12.4
240
TM
(Thematic Mapper)
LANDSAT 4, 5
1
น้ำเงิน
0.45 – 0.52
30
2
เขียว
0.52 – 0.60
30
3
แดง
0.63 – 0.69
30
4
อินฟราเรดใกล้
0.76 – 0.90
30
5
อินฟราเรดคลื่นสั้น
1.55 – 1.75
30
6
อินฟราเรดความร้อน
10.4 – 12.5
120
EMT+
(Enhanced tjematic Mapper Plus)
LANDSAT 7
1
น้ำเงิน
0.45 – 0.52
30
2
เขียว
0.52 – 0.60
30
3
แดง
0.63 – 0.69
30
4
อินฟราเรดใกล้
0.76 – 0.90
30
5
อินฟราเรดคลื่นสั้น
1.55 – 1.75
30
6
อินฟราเรดความร้อน
10.4 – 12.5
60
7
อินฟราเรดความร้อน
2.08 – 2.35
30
PAN
0.52 – 0.90
15
ตารางอุปกรณ์รับรู้ของดาวเทียมชุด LANDSAT

แบนด์
ความยาวคลื่น (ไมโครเมตร)
ศักยภาพการใช้ประโยชน์
1
0.45 – 0.52 ( น้ำเงิน )
ใช้ตรวจสอบลักษณะน้ำตามชายฝั่งแสดงความแตกต่างหรือใช้แยกประเภทต้นไม้ชนิดผลัดใบและไม่ผลัดใบออกจากกันแสดงความแตกต่างหรือแยกดินจากพืชพรรณต่างๆ ที่มีความไวต่อการมีหรือไม่มีคลอโรฟิลล์
2
0.52 – 0.60 ( เขียว )
แสดงการสะท้อนพลังงานสีเขียวจากพืชพรรณที่เจริญเติบโตแล้ว
3
0.63 – 0.69 ( แดง )
แสดงความแตกต่างของการดูดกลืนคลอโรฟิลล์ในพืชพรรณชนิดต่างๆ กัน
4
0.76 – 0.90 ( อินฟราเรดใกล้ )
ใช้ตรวจวัดปริมาณมวลชีวะ แสดงความแตกต่างของน้ำและส่วนที่ไม่ใช้น้ำ
5
1.55 – 1.75 ( อินฟราเรดคลื่นสั้น )
ใช้ตรวจความชื้นในพืช แสดงความแตกต่างของหิมะกับเมฆ
6
10.4 – 12.5 ( อินฟราเรดความร้อน )
ใช้ตรวจการเหี่ยวเฉาอันเนื่องมาจากความร้อนในพืชแสดงความแตกต่างของความร้อนบริเวณที่ศึกษา แสดงความแตกต่างของความชื้นของดิน
7
2.08 – 2.35 ( อินฟราเรดสะท้อน )
ใช้ตรวจความร้อนในน้ำ ใช้แยกประเภทแร่ธาตุและหินชนิดต่างๆ
PAN
0.52 – 0.90
ใช้ประโยชน์ในด้านผังเมืองคล้ายกับรูปถ่ายทางอากาศ
ตารางศักยภาพการใช้ประโยชน์ของอุปกรณ์รับรู้ ETM* ของดาวเทียม LANDSAT 7
กลุ่มที่ 1 ดาวเทียมสำรวจพื้นดิน

ชื่อดาวเทียม
ปีที่ปล่อย
ประเทศ
Landsat 1-7
1973
สหรัฐอเมริกา
Seasat
1978
สหรัฐอเมริกา
HCMM
1978
สหรัฐอเมริกา
RESURS
1985
รัสเซีย
IRS 1A-1D
1986
อินเดีย
ERS 1-2
1991
สหรัฐอเมริกา
JERS 1-2
1992
ญี่ปุ่น
Radarsat
1995
แคนาดา
ADEOS
1996
ญี่ปุ่น
Terra
1999
สหรัฐอเมริกา
Proba/Chris
2001
สหรัฐอเมริกา


กลุ่มที่ 2 ดาวเทียมสำรวจสภาพภูมิอากาศ 

ชื่อดาวเทียม
ปีที่ปล่อย
ประเทศ
TIROS 1-9
1960
สหรัฐอเมริกา
Nimbus 1-7
1964
สหรัฐอเมริกา
ESSA 1-9
1966
สหรัฐอเมริกา
ATS(g) 1-3
1966
สหรัฐอเมริกา
DMSP series I
1966
สหรัฐอเมริกา
the Russian Kosmos
1968
สหรัฐอเมริกา
Meteor series
1969
สหรัฐอเมริกา
ITOS series
1970
สหรัฐอเมริกา
SMS(g)
1975
สหรัฐอเมริกา
GOES(g) series
1975
สหรัฐอเมริกา
NOAA 1-5
1976
สหรัฐอเมริกา
DMSP series 2
1976
สหรัฐอเมริกา
GMS (Himawari)(g) series
1977
ญี่ปุ่น
Meteosat(g) series
1978
ยุโรป
TIROS-N series
1978
สหรัฐอเมริกา
Bhaskara(g)
1979
อินเดีย
NOAA 6-14
1982
สหรัฐอเมริกา
Insat
1983
สหรัฐอเมริกา
ERBS
1984
สหรัฐอเมริกา
MOS
1987
สหรัฐอเมริกา
UARS
1991
ญี่ปุ่น
TRMM
1997
สหรัฐอเมริกา /ญี่ปุ่น
Envisat
2002
European Space Agency
Aqua
2002
สหรัฐอเมริกา


กลุ่มที่ 3 ดาวเทียมสำรวจมหาสมุทร 

ชื่อดาวเทียม
ปีที่ปล่อย
ประเทศ
Seasa
1978
สหรัฐอเมริกา
Nimbus 7
1978
สหรัฐอเมริกา
Topex-Poseidon
1992
สหรัฐอเมริกา
SeaWiFS
1997
สหรัฐอเมริกา


ดาวเทียมรีโมตเซ็นซิงที่ให้บริการในเชิงพาณิชย์ 
ชื่อดาวเทียม
ปีที่ปล่อย
ประเทศ
SPOT
1986
ฝรั่งเศส
Resurs
1989
รัสเซีย
Orbview-2
1997
สหรัฐอเมริกา
SPIN-2
1998
รัสเซีย
IKONOS
1999
สหรัฐอเมริกา
Quickbird
2001
สหรัฐอเมริกา
Resource21
-
-
EROS A
2000
อิสราเอล


รายละเอียดของดาวเทียมที่นิยมใช้งานมีดังต่อไปนี้
ชื่อดาวเทียม
Status
NOAA
-
LANDSAT
-
MOS
-
JERS
-
ERS-1
-
ERS-2
-
ENVISAT
-
PROBA
-
SPOT-2
-
SPOT-4
-
SPOT-5
-

อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล/ภาพ
http://rst.gsfc.nasa.gov/Front/overview.html
http://rst.gsfc.nasa.gov/Front/overview.html
http://rst.gsfc.nasa.gov/Front/overview.html
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

<< แหล่งพลังงานและการแผ่รังสี
การใช้
GoogleEarth >>